“ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพร “พาว ซุยยากุ เอสเซนส์” เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการค้นคว้าและวิจัยมากกว่า 1 ทศวรรษ หรือราว 10 กว่าปีเพื่อให้ได้กระบวนการผลิตที่เหมาะสม ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีฤทธ์ิทางชีวภาพ โดยเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ได้พัฒนาข้ึนจากกระบวนการวิจัยพัฒนาหรือปรับปรุงผลิตภัณฑ์ด้วยองค์วามรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ่านการพิจารณารับรองโดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแห่งชาติ (สวทช.) ว่ามีคุณสมบติครบถ้วนที่จะสามารถข้ึนทะเบียนให้อยู่ใน บัญชีนวัตกรรมไทย ซึ่งถือเป็น “นวัตกรรมไทยเจ้าแรก” ที่ได้จากการบูรณาการเทคโนโลยีการนำจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เข้ากับการผลิตเครื่องดื่มสมุนไพร เพื่อเพิ่มคุณประโยชน์ต่อสุขภาพให้แก่เครื่องดื่ม มีส่วนประกอบหลักมาจากใบและยอดอ่อนของ “พลูคาว” และยังมีส่วนประกอบของสมุนไพรอีก 10 ชนิดที่ล้วนมีประโยชน์ต่อสุขภาพ การนําสมุนไพรเหล่าน้ีมาผ่านกระบวนการผลิตด้วยวิธีที่เหมาะสมจึงทําให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ “พาว ซุยยากุ เอสเซนส์” เครื่องดื่มสมุนไพรที่รวมคุณค่าของสมุนไพรหลากหลายชนิด เพื่อการบํารุงสุขภาพให้แข็งแรงสมบูรณ์.
“พลูคาว” พืชสมุนไพรท้องถิ่นของภาคเหนือ ที่มีคนรู้จักในนามของ คาวตอง พืชสมุนไพรพื้นบ้านสําหรับใช้เป็นผักเครื่องเคียงในเมนูอาหารของชาวเหนือ ได้ถูกนํามาศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องด้วยเส้นทางงานวิจัย โดยบริษัท ซีเอ็ม เอช เชียงใหม่โฮลดิ้ง จํากัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบันรวมเป็นระยะเวลายาวนานมากกกว่า 10 ปี ทําให้มีงานวิจัยรองรับมากถึง 4 ฉบับตลอดจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมที่ได้รับการข้ึนบัญชี นวัตกรรมแห่งประเทศไทยในปัจจุบันจึงกล่าวได้ว่า เราเป็น “บริษัทผู้นำของสมุนไพร พลคูาวสกัด”
ผลงานภายใต้โครงการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ บริษัท ซีเอ็ม เอช เชียงใหม่โฮลดิ้ง จำกัด จํานวน 4 ฉบับดังนี้
งานวิจัยที่ 1 ปี พ.ศ. 2554 เรื่อง การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ สาระสําคัญและฤทธ์ิการต่อต้านอนุมูลอิสระของน้ําผลไม้ผสมสมุนไพรพร้อมดื่ม โดย นักวิทยาศาสตร์ ประจําคณะอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตโดยใช้สารสกัดพลูคาวจากงานวิจัยนั้น มีสารประกอบ ฟี-นอ-ลิก Phenolic compounds และ Flovonoids ฟลา-โว-นอยด์ เป็นองค์ประกอบ สารหลักที่พบคือ Epicatechin,Quecitin และ Rutin ซึ่งเป็นสารสําคัญ ที่ออกฤทธ์ิในการต้านอนุมูลอิสระ และลดการเกิดออกซิเดชั่นของไขมันในหลอดเลือด (เอกสิทธ์ิ,2554)
งานวิจัยที่ 2 ปีพ.ศ. 2556 เรื่อง การพัฒนากระบวนการผลิตพลูคาวผสมน้ําผลไม้และสมุนไพรได้มาซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ (Probiotics) โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจําคณะ จากคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาการเทคโนโลยีการผลิต ให้มีความเฉพาะเจาะจงเพื่อให้ได้ออกฤทธ์ิในปริมาณที่เหมาะสม จากการค้นคว้าวิจัยกระบวนการผลิตด้วยเทคนิคพิเศษ สามารถนําส่งจุลินทรีย์กลุ่ม กรดแลคติก(Lactic acidbacteria หรือ LAB) สามารถจดอนุสิทธิบัตรวิธีการผลิต (อิสรพงษ์,2556)
งานวิจัยที่ 3 ปีพ.ศ. 2558 เรื่อง การศึกษาฤทธ์ิทางชีวภาพของสารสกัดจากใบพลูคาวเพื่อยกระดับความสามารถด้านการแข่งขันในเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจําคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิยาลัยเชียงใหม่ พบว่า เมื่อศึกษาวิจัยถึงฤทธ์ิทางชีวภาพในหลอดทดลอง สามารถยับยั้งอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและการเกิดโรคเรื้อรัง ในกลุ่มโรค NCDs ชนิดไม่ติดต่อเช่น มะเร็ง เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น และยังสามารถยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งได้หลายชนิด ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ และมะเร็งลําไส้ใหญ่ ส่วนในการศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ พบว่า ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ไตของลิง และเซลล์ผิวหนังของมนุษย์ (เอกสิทธ์ิ,2558)
งานวิจัยที่ 4 ปี พ.ศ. 2563 เรื่อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิยาลัยเชียงใหม่ ได้ทำการศึกษาต่อเนื่อง โดยมุ่งสร้างเอกลักษณ์ในส่วนของกระบวนการผลิตของสารสกัดจากใบพลูคาว เพื่อยกระดับความสามารถด้านการแข่งขันในเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์โดยเลือกใช้ นวัตกรรมการย่อยด้วยกลุ่มของเอ็นไซม์เฉพาะเจาะจง (Enzyme Hydrolyses (EN.HYDRO)) เพื่อผลิตโมเลกุลของสารออกฤทธ์ิทางชีวภาพในรูปฟอร์มที่มีขนาดเล็กลง ทําให้มีกิจกรรมทางชีวภาพใหม่เกิดข้ึนและยังทําให้เกิดการดูดซึมได้ง่ายยิ่งข้ึน นําส่งสารออกฤทธ์ิเข้มข้นขึ้นกว่างานวิจัยตัวก่อน (เอกสิทธ์ิ, 2563)
นอกจากน้ี “พลูคาวสกัดเข้มข้น” จากงานวิจัยจึงเป็น เอกสิทธ์ิ 1 เดียวในประเทศไทย ทั้งในกระบวนการผลิตในรูปแบบเครื่องดื่ม ผงบรรจุซอง และผงบรรจุแคปซูล เป็น อนุสิทธิบัตร 2 ฉบับ นอกจากงานวิจัยต่อเนื่องทั้ง 4 ฉบับแล้ว ยังมีงานวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เกี่ยวกับฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาของพลูคาวสกัดว่า นอกจากมีส่วนในการลดการอักเสบ เพิ่มอัตราการรอดชีวิตของเซลล์ที่ติดเชื้อ HIV-1 ลดการลุกลามของเชื้อไวรัสเริม และ อีสุกอีใส นอกจากน้ียังมีฤทธ์ิในการ “ต่อต้านไวรัส” มีงานวิจัยอ้างอิงถึงผลยับยั้งเชื้อ SARS-CoV ที่เป็นสาเหตุของโรค severe acute respiratorysyndrome (SARS) โดยยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ 3C-like protease (3CLpro) และ RNA-dependent RNA polymerase(RdRp) ซึ่งเป็นเชื้อกลุ่มเดียวกันกับ โคโรน่าไวรัส ที่ก่อให้เกิดโรค Covid–19 ในปัจจุบัน.
จากงานวิจัยทั้งหมดที่กล่าวมานั้นได้นำมาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ให้เป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยใช้ “พลูคาวสกัดเข้มข้น” (Essence, Extract) ที่ได้จากงานววิจัยร่วมกับสมุนไพรอื่นๆ ตามแต่วัตถุประสงค์และเป้าหมายของฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาที่ต่างกันในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มุ่งพัฒนาสารสกัดพลูคาวจากงานวิจัยจนสามารถผลิตออกมาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ให้ผลได้จริง และเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ที่ผ่านมา ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจินดา ศรีวัฒนะ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เป็นประธานผู้ส่งมอบนวัตกรรมงานวิจัยในพิธีส่งมอบงานวิจัย “นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรพลูคาวสกัด” จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สู่บริษัท ซีเอ็ม เอช เชียงใหม่โฮลดิ้ง จำกัดโดยมี นายรัฐวชิญ์ สิริอมรสิทธ์ิ ประธานบริหาร บริษัท ซีเอ็ม เอช เชียงใหม่โฮลดิ้ง จํากัด เป็นผู้รับมอบ ซึ่งพลูคาวสกัดนั้นถือเป็นหน่ึงในหัวใจสําคัญของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพร พาว ซุยยากุ เอสเซนส์เลยทีเดียวและในงานวันดังกล่าวน้ี ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร POW อีกด้วย
บริษัท ซีเอ็ม เอช เชียงใหมโฮลดิ้ง จํากัด มีความมุ่งมั่น และตั้งใจที่จะพัฒนาคุณภาพ เพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่ดีที่สุดตัวนึงที่เปี่ยมไปด้วยคุณประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้บริโภค
เอกสารอ้างอิง
อิสรพงษ์ พงษ์ศิริกลุ . (2556). รายงานฉบับสมบูรณ์ การพัฒนากระบวนการผลิตผลูคาวผสมน้ําผลไม้และสมุนไพรด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย.สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.เชียงใหม่.
เอกสิทธ์ิ จงเจริญรักษ์ (2554). รายงานฉบับสมบูรณ์ การวิเคราะห์ค่าทางโภชนาการ สาระสำคัญและฤทธ์ิการต่อต้านอนุมูลอิสระของน้ําผลไม้ผสมสมุนไพรพร้อมดื่ม ภายใต้การสนับสนุนคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปีงบประมาณ 2554. เชียงใหม่.
เอกสิทธ์ิ จงเจริญรักษ์ (2559). รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษาฤทธ์ิทางชีวภาพของสารสกัดจากใบพลูคาวเพื่อยกระดับความสามารถด้านการแข่งขันในเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์โครงการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ภายใต้การสนับสนุนตามกลไกอุทยานวิยาศาสตร์ภาคเหนือ ปีงบประมาณ 2558.เชียงใหม่.
เอกสิทธ์ิ จงเจริญรักษ์ (2563). รายงานฉบับสมบูรณ์ การพัฒนากระบวนการผลิตและทดสอบประสิทธิผลทางชีวภาพของสารสกัดใบพลูคาวเข้มข้นสูง เพื่อต่อยอดในเชิงพาณิชย์ด้านการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร โครงการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ภายใต้การสนับสนุนตามกลไกอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือปีงบประมาณ 2561. เชียงใหม่.
Lau, Kit-Man, et al. “Immunomodulatory and anti-SARS activities of Houttuynia cordata.” Journal of Ethnopharmacology 118.1(2008): 79-85.
Cheng, Bao-Hui, et al. “Structural characterization and immunomodulatory effect of a polysaccharide HCP-2from Houttuynia cordata.” Carbohydratepolymers103(2014): 244-249.
Fu, Jiangang, et al. “Houttuynia cordata Thunb: a review of phytochemistryandpharmacology andquality
control.” Chinese Medicine 4.03(2013): 101.
Nuengchamnong, Nitra, Kamlai Krittasilp, and Kornkanok Ingkaninan. “Rapid screening and identification of antioxidants in aqueous extracts of Houttuynia cordata using LC–ESI–MS coupled with DPPH assay.”Food Chemistry117.4(2009): 750-756.
Kim, Seong-Kie, et al. “Cytotoxic alkaloids from Houttuynia cordate.” Archives of pharmacal research 24.6(2001): 518-521.
Ling-Shang, W. U., et al. “Quantitive variation of flavonoids in Houttuynia cordata from different geographic origins in China.” Chinese Journalof Natural Medicines 7.1(2009): 40-46.
Chen, Yuh-Fung, et al. “Houttuynia cordata Thunb extract modulates G 0/G 1 arrest and Fas/CD95-mediated death receptor apoptotic cell death in human lung cancer A549 cells.” Journalofbiomedical science 20.1(2013): 18.
Li, Weifeng, et al. “Houttuynia cordata, a novel and selective COX-2 inhibitor with anti-inflammatory activity.” Journalof ethnopharmacology 133.2(2011): 922-927.
Tian, Lingmin, et al. “Chemical composition andhepatoprotective effects of polyphenol-richextract from Houttuynia cordata tea.” Journalof agricultural andfoodchemistry 60.18(2012): 4641-4648.
พาวน้ำ
พาวน้ำ
พาวน้ำ